dimanche 9 janvier 2011

La Bastille, symbole du despotisme et enfer des vivants


Evènement fondateur de la Révolution française, la chute de la Bastille le 14 juillet 1789 continue de fasciner les contemporains. A Paris, une exposition exceptionnelle sur cette prison de l'Ancien Régime se tient jusqu'au 11 février à la Bibliothèque de l'Arsenal, à quelques pas de la place de la Bastille. Cette exposition intitulée La Bastille ou « l'enfer des vivants » retrace l'histoire de cette forteresse du règne de Louis XIV jusqu'à la Révolution française.

« Les Parisiens ont pris la Bastille ! »
« C’est une révolte ? »
« Non Sire, c’est une révolution… »

Il ne reste quasiment rien de la Bastille. Cette prison forteresse, prise d’assaut par le peuple parisien le 14 juillet 1789. Rien, si ce n’est ces archives de la Bibliothèque de l’Arsenal. Plus de 250 documents exceptionnels, qui nous replongent dans l’un des épisodes les plus passionnants de l’histoire de France et portent encore les traces de leurs aventures du 14 juillet 1789, puisqu’on les a jetées dans les fossés. Mais très rapidement, dès le lendemain, le 15 juillet, la ville de Paris s’est préoccupée de les rassembler. Donc ces archives, après diverses péripéties, ont fini par être conservées à la Bibliothèque de l’Arsenal depuis 1797 ».

On y entre selon le bon plaisir du roi
Sous l’ancien régime, la Bastille est une prison royale. On y entre selon le bon plaisir du roi par simple lettre de cachet. « Ca va du régicide jusqu’au simple mauvais propos. On entre sans raison et on ne sait jamais quand on va en sortir en fait. C’est le principe même de la lettre de cachet. Il n’y a pas de jugement. Il n’y a rien. Souvent c’est sur des dénonciations aussi. »

La Bastille enferme aussi le petit peuple
Parmi les prisonniers les plus célèbres on compte « Le masque de fer », cet illustre inconnu masqué, dont l’existence est avérée par les archives, le philosophe Voltaire, ou encore le marquis de Sade. Mais la Bastille enferme aussi le petit peuple ; celui des libraires ou des colporteurs, raconte Elise Dutray, commissaire de l’exposition : « Plus que les grands écrivains, ce sont les tous petits écrivains qui sont embastillés. Tous les libellistes, les pamphlétaires, et surtout les nouvellistes, qui sont en fait l’équivalent des journalistes, mais des journalistes de la presse non contrôlée en fait, par le roi.



คุกบาสตีย์ สัญลักษณ์แห่งความกดขี่และความเป็นอยู่อย่างนรก
เหตุการณ์การปฏิวัติในฝรั่งเศส : การล่มสลายของคุกบาสตีย์ในวันที่ 14 กรกฎาคม ปี 1789 ยังคงเป็นเหตุการณ์ที่ตรึงตาตรึงใจร่วมสมัยจนมาถึงปัจจุบัน
ณ กรุงปารีส ได้มีการจัดนิทรรศการพิเศษเกี่ยวกับเรือนจำระบอบเก่าขึ้น และจะมีไปจนถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ โดยจัดขึ้นที่ห้องสมุดอาร์เซนอล ซึ่งห่างจากจัตุรัสบาสตีย์เพียงไม่กี่ก้าวเท่านั้น นิทรรศการเกี่ยวกับคุกบาสตีย์ หรือ “ความเป็นอยู่อย่างนรก” นี้ เป็นนิทรรศการที่จัดขึ้นเพื่อแสดงถึงร่องรอยประวัติศาสตร์ตั้งแต่ในยุคของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ไปจนถึงการปฏิวัติในฝรั่งเศส


“ชาวปารีสเป็นผู้ทำลายคุกบาสตีย์”
“มันเป็นการกบฏ?”
“ไม่ใช่ มันคือการปฏิวัติ...”


เรียกได้ว่าแทบจะไม่เหลือเค้าเดิมของคุกบาสตีย์เลย ป้อมปราการแห่งนี้ได้ถูกชาวปารีสบุกเข้าทำลายในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 โดยแทบไม่มีสิ่งใดหลงเหลือนอกจากที่เก็บของในห้องสมุดอาร์เซนอลเท่านั้น ซึ่งข้อมูลมากกว่า 250 ชิ้นที่โดดเด่นสามารถนำเรากลับไปเป็นหนึ่งในตอนที่น่าตื่นเต้นที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสได้ และยังคงมีร่องรอยแห่งการผจญภัยในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 อยู่ แม้ในตอนแรกเราจะได้ทิ้งมันลงคูน้ำไป แต่ในวันถัดมา 15 กรกฎาคม ไม่นานนัก มันก็ได้ถูกส่งกลับคืนมาอีกครั้งเช่นเดิมอย่างรวดเร็ว ซึ่งภายหลังจากการผจญภัยต่าง ๆ สิ้นสุดลง คลังข้อมูลเหล่าก็นี้ได้ถูกเก็บไว้ที่ห้องสมุดอาร์เซนอลตั้งแต่ในปี 1797


เรากำลังก้าวเข้าไปสู่โถงแห่งความเพลิดเพลินของกษัตริย์
ภายใต้การปกครองในระบอบเก่า คุกบาสตีย์นั้นถือเป็นคุกหลวงของกษัตริย์ เราสามารถเข้าไปได้โดยอาศัยจดหมายแสดงการได้รับอนุญาตพิเศษ (แต่มันจะไม่ดีแน่ถ้าหากคุณเข้าได้เข้าไปเพราะข้อหาการลอบปลงพระชนม์หรือแม้แต่ความผิดเพียงเล็กน้อยที่เกี่ยวกับกษัตริย์ ถ้าเช่นนั้นคุณจะได้เข้าไปโดยไม่มีเหตุผล และเราจะไม่มีทางรู้ได้เลยว่าเราจะได้ออกมาอีกเมื่อใด อันที่จริงแล้วมันคือหลักการเดียวกันกับจดหมายอนุญาตนั่นเอง ไม่มีการตัดสิน ไม่มีอะไรเลย.... บ่อยครั้งที่กรณีนี้จะถูกประนามเป็นที่ไม่พอใจเช่นกัน)


บาสตีย์ที่ล้อมรอบคนจำนวนน้อย
ในบรรดาจำนวนนักโทษทั้งหมด นักโทษที่มีชื่อเสียงมากที่สุดได้แก่ “The iron mask” คนในหน้ากากนิรนามที่มีชื่อเสียงนี้ มีอยู่จริงและสามารถพิสูจน์ได้จากหลักฐานในคลัง ทั้งจากนักปรัชญาวอลแตร์ หรือขุนนางมาร์ควิซแห่ง Sade แต่ในจำนวนนักโทษที่มีไม่มากเหล่านี้ Elise Dutray ผู้จำหน่ายหนังสือหรือแผงลอยที่ดูแลงานนี้กล่าวว่า มีนักเขียนจำนวนมากที่เป็นคนหนุ่มสาวและเคยถูกขังในคุกมาก่อน โดยทุกชื่อ ทุกแผ่นพับ มีคุณสมบัติเทียบเท่ากับนักข่าวในปัจจุบันเลยทีเดียว แต่เป็นนักข่าวที่ไม่ได้ถูกควบคุมโดยกษัตริย์ ในขณะที่ในสมัยเดียวกันนั้น พวกนักร้องถูกห้ามไม่ให้พูดถึงข่าวใด ๆ และห้ามไม่ให้วิพากษ์วิจารณ์โดยการร้องเพลงด้วย


อย่างไรก็ดี ก่อนการปฏิวัติ เราได้ค้นพบว่ากษัตริย์ได้มีความคิดที่จะปิดคุกแห่งนี้อยู่ก่อนแล้ว เนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก และบาสตีย์เองก็เป็นสัญลักษณ์แสดงการกดขี่อย่างไร้กฎเกณฑ์ภายใต้ระบอบของกษัตริย์


คุกบาสตีย์ หรือ นิทรรศการ “ความเป็นอยู่อย่างนรก” จะมีอยู่ไปจนถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ที่ ห้องสมุดอาร์เซนอล ในถนน Sully กรุงปารีส 75004 โดยมีค่าเข้าชมอยู่ที่ 34 ยูโร.

Aucun commentaire: